Tuesday, February 8, 2011

ไขปริศนาเลขบัตรประชาชนไทยทั้ง 13 หลัก

อยากรู้มั้ย ว่าแต่ละตำแหน่งหมายถึงอะไร 13 เลขนี้ มีความสำคัญยิ่ง เพราะเป็นการสำแดงตัวตน “ความเป็นคนไทยหรือคนในประเทศไทย” ที่ทำให้เราสามารถอาศัยอยู่ในประเทศไทย และใช้สิทธิอย่างถูกต้องตามกฎหมายได้ 
 
โดยความเป็นจริงแล้ว ไม่ว่าจะเรียนหรือทำอะไร ตัวเลขก็ล้วนมีเอี่ยว หรือมายุ่งเกี่ยวกับชีวิตประจำวันของคนเราเสมอ และในทางกลับกัน ตัวเลขบางตัวอาจจะทำให้เรามีความสุขขึ้นด้วยซ้ำ เช่น ตัวเลขเพิ่มขึ้นของเงินเดือนหรือโบนัส ตัวเลขในบัญชีรายรับ ตัวเลขมูลค่าเพิ่มของหุ้นที่เราซื้อ ฯลฯ ยกเว้น ตัวเลขดอกเบี้ยเงินกู้ ที่งามโดยไม่ต้องรดน้ำ หรือตัวเลขยอดหนี้ที่ยังไม่จ่าย ส่วนตัวเลขที่น่ารังเกียจอีกตัว คือ ตัวเลขอายุที่เพิ่มขึ้นของสาวๆ ที่ยังไม่แต่งงาน เป็นต้น
 
นอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว ยังมี “ตัวเลข” ที่เกี่ยวพันกับความเชื่อต่างๆ ทั้งของไทยและต่างประเทศอีกหลายตัว เช่น คนไทยถือว่า เลข 9 เป็นเลขมงคล เพราะออกเสียงว่า “เก้า” ที่พ้องกับคำว่า “ก้าว” อันหมายถึง ความเจริญก้าวหน้า ด้วยเหตุนี้ ในปัจจุบัน เราจึงเห็นคนไทยจำนวนไม่น้อย ไปทัวร์ไหว้พระ 9 วัดเพื่อความเป็นสิริมงคล จนได้กลายมาเป็นการ “ทำบุญ” อีกรูปแบบที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย 
 
สำหรับฝรั่ง เขาจะถือว่า เลข 13 เป็นเลขอาถรรพ์ หรือเลขอัปมงคล  หรือเรียกกันว่า ลัคกี้นัมเบอร์ (Lucky number) สาเหตุมาจากอาหารมื้อสุดท้าย ของพระเยซูคริสต์ ที่เรียกกันว่า เดอะลาสซับเปอร์ (The Last Supper) นั้น มีสาวกร่วมโต๊ะพร้อมกับพระองค์ นับรวมแล้วได้ 13 คนพอดี ครั้นวันรุ่งขึ้นซึ่งตรงกับวันศุกร์ พระองค์ก็ถูกจับตรึงกางเขนจนสิ้นพระชนม์ เขาจึงถือว่าวันศุกร์ที่ตรงกับวันที่ 13 เป็นวันโชคร้าย

แม้ว่าเลข 13 จะเป็นเลขอาถรรพ์ของฝรั่ง แต่คนไทยโดยทั่วไป ไม่ได้ถือกับตัวเลขดังกล่าว และที่น่าสนใจคือ มี เลข 13 ที่เกี่ยวพันโดยตรงกับคนไทย ซึ่งเชื่อว่า คงมีคนอีกไม่น้อยไม่เคยทราบมาก่อน นั่นคือ เลขประจำตัวประชาชนในบัตรประชาชน หรือที่เดี๋ยวนี้เรียก สมาร์ทการ์ด ที่มีด้วยกัน 13 หลัก และแต่ละหลักก็มิใช่แค่เป็นเพียงจำนวนนับธรรมดาๆ แต่มีความหมายแฝงอยู่ด้วย ซึ่งกลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม ขอนำมาเสนอเพื่อเป็นความรู้ ดังนี้

สมมุติว่า เลขบัตรประชาชนของเราเขียนไว้ว่า 1 1001 01245 29 9  (เขียนเว้นวรรค ตามแบบ)
แต่ละหลักก็จะมีความหมายดังนี้
 
หลักที่ 1 (คือหมายเลข 1 ในตัวอย่าง) จะหมายถึง ประเภทบุคคล ซึ่งมีอยู่ 8 ประเภทได้แก่
 
ประเภทที่ 1 คือ คนที่เกิดและมีสัญชาติไทย และได้แจ้งเกิดภายในกำหนดเวลา หมายความว่า เด็กคนใดก็ตามที่เกิดตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2527 เป็นต้นไป อันเป็นวันเริ่มแรกที่เขาประกาศให้ประชาชนทุกคน ต้องมีเลขประจำตัว 13 หลัก เมื่อพ่อแม่ผู้ปกครองไปแจ้งเกิดที่อำเภอ หรือสำนักทะเบียนในเขตที่อยู่ภายใน 15 วันนับแต่เกิดมา ตามที่กฎหมายกำหนด เด็กคนนั้นก็ถือเป็นบุคคลประเภท 1 และจะมีเลขประจำตัวขึ้นด้วยเลข 1 เช่น เด็กหญิงส้มจี๊ด เกิดเมื่อวันที่ 2 มกราคม 2527 และพ่อไปแจ้งเกิดที่เขตดุสิตภายในวันที่ 17 มกราคม 2527 เด็กหญิงส้มจี๊ด ก็จะมีหมายเลขประจำตัวขึ้นต้นด้วยเลข 1 และก็ต่อด้วยเลขหลักอื่นๆ อีก 12 ตัว เป็น 1 1001 01245 29 9 เป็นต้น ซึ่งเลขนี้จะปรากฏในทะเบียนบ้าน และจะเป็นเลขประจำตัว เมื่อส้มจี๊ดไปทำบัตรประชาชนตอนอายุ 15 ปี
 
ประเภทที่ 2 คือ คนที่เกิดและมีสัญชาติไทย ได้แจ้งเกิดเกินกำหนดเวลา หมายความว่า เด็กคนใดก็ตามที่เกิดตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2527 เป็นต้นไป แล้วบังเอิญว่าพ่อแม่ผู้ปกครองลืมหรือติดธุระ ทำให้ไม่สามารถไปแจ้งเกิดที่อำเภอหรือเขตภายใน 15 วันตามกฎหมายกำหนด เมื่อไปแจ้งภายหลัง เด็กคนนั้นก็จะกลายเป็นบุคคลประเภท 2 และจะมีเลขตัวแรกในทะเบียนบ้านขึ้นด้วยเลข 2 ทันที เช่น ในกรณีส้มจี๊ด หากพ่อไปแจ้งเกิดให้ ในวันที่ 18 มกราคม 2527 หรือเกินกว่านั้น ส้มจี๊ดก็จะมีเลขประจำตัวเป็น 2 1001 01245 29 9 ในทะเบียนบ้าน และเมื่อไปทำบัตรประชาชนในภายหน้า

ประเภทที่ 3 คือ คนไทยและคนต่างด้าว ที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ในสมัยเริ่มแรก (คือตั้งแต่ก่อนวันที่ 31 พฤษภาคม 2527) หมายความว่า บุคคลใดก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นคนไทย หรือคนต่างด้าว ที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ณ ที่ใดที่หนึ่งในประเทศไทย มาตั้งแต่ก่อนวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2527 คนนั้นถือว่าเป็นบุคคลประเภท 3 และก็จะมีเลขประจำตัวขึ้นต้นด้วยเลข 3 เช่น ส้มจี๊ด เกิดเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ.2501 และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านแล้ว ส้มจี๊ดก็จะมีเลขประจำตัวในทะเบียนบ้าน และบัตรประชาชนเป็น 3 1001 01245 29 9

ประเภทที่ 4 คือ คนไทยและคนต่างด้าว ที่มีใบสำคัญคนต่างด้าวแต่แจ้งย้ายเข้า โดยยังไม่มีเลขประจำตัวประชาชน ในสมัยเริ่มแรก หมายความว่า คนไทยหรือคนต่างด้าว ที่มีใบสำคัญคนต่างด้าว ที่อาจจะเป็นบุคคลประเภท 3 คือมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดิมอยู่แล้ว แต่ยังไม่ทันได้เลขประจำตัว ก็ขอย้ายบ้านไปเขตหรืออำเภออื่น ก่อนช่วงวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2527 ก็จะเป็นบุคคลประเภท 4 ทันที เช่น ส้มจี๊ดมีชื่ออยู่ในสำนักทะเบียนเขตคลองสาน มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2501 ต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ 2527 ส้มจี๊ดก็ขอย้ายบ้านไปเขตดุสิต โดยที่ส้มจี๊ดยังไม่ทันได้เลขประจำตัวจากเขตคลองสาน พอแจ้งย้ายเข้าเขตดุสิต ส้มจี๊ดก็จะกลายเป็นบุคคลประเภท 4 มีเลขประจำตัวขึ้นต้นด้วย 4 กลายเป็น 4 1001 01245 29 9 ทันที แต่ถ้าส้มจี๊ดย้ายจากเขตคลองสานเดิม ไปเขตดุสิต หลังวันที่ 31 พฤษภาคม 2527 ส้มจี๊ดก็ยังเป็นบุคคลประเภท 3 อยู่ เพราะถือว่าจะได้เลขประจำตัวจากเขตคลองสานแล้ว จะย้ายอย่างไรก็ไม่เปลี่ยนแปลง

การกำหนดให้บุคคลเริ่มมีเลขประจำตัว 13 หลักในทะเบียนบ้านหรือบัตรประชาชน โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2527 เป็นต้นไป จนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2527 อันเป็นวันสุดท้าย ของการดำเนินการให้ประชาชน ที่ไม่มีเลขประจำตัวในบัตรหรือทะเบียนบ้าน ได้มีเลขประจำตัวจนครบแล้วนั้น ก็เพราะก่อนหน้านี้ ประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดเลขประจำตัวดังกล่าวมาก่อนเลย ดังนั้น ช่วงที่ว่าจึงเป็นระยะเวลาจัดระบบให้เข้าที่เข้าทาง เพราะหลังจากวันที่ 31 พฤษภาคม 2527 แล้ว ทุกคนจะต้องมีเลขประจำตัวเพื่อสำแดงตนว่า เป็นบุคคลประเภทใด โดยดูตามเงื่อนไขในแต่ละกรณี ซึ่งมีอีก 4 ประเภท คือ
 
ประเภทที่ 5 คือ คนไทยที่ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อ เข้าไปในทะเบียนบ้านในกรณีตกสำรวจ หรือกรณีอื่นๆ เช่น ส้มจี๊ดมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเขตดุสิตอยู่แล้ว แต่บังเอิญว่าตอนที่มีการสำรวจรายชื่อผู้อยู่ในบ้าน เกิดความผิดพลาดทางเทคนิค ทำให้ชื่อของส้มจี๊ดหายไปจากทะเบียนบ้าน เมื่อไปแจ้งเจ้าหน้าที่และตรวจสอบแล้วว่าตกสำรวจจริง หรือจะเป็นเพราะกรณีอื่นใดก็ตาม เจ้าหน้าที่ก็จะเพิ่มชื่อให้ แต่ส้มจี๊ดก็จะมีหมายเลขในทะเบียนบ้านเป็นบุคคลประเภท 5 และบัตรประชาชนจะขึ้นต้นด้วยเลข 5 ทันที คือ กลายเป็น 5 1001 01245 29 9

ประเภทที่ 6 คือ ผู้ที่เข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย และผู้ที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมาย แต่อยู่ในลักษณะชั่วคราว กล่าวคือ คนที่มาอาศัยอยู่ในประเทศไทย แต่ยังไม่ได้สัญชาติไทย เพราะทางการยังไม่รับรองทางกฎหมาย เช่น ชนกลุ่มน้อยตามชายแดน หรือชาวเขา กลุ่มนี้ถือว่าเป็นผู้เข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ส่วนบุคคลที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมาย แต่อยู่ชั่วคราว เช่น นักท่องเที่ยวหรือชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทย แม้บางคนจะถือพาสปอร์ตประเทศของตน แต่อาจจะมีสามีหรือภริยาคนไทย จึงไปขอทำทะเบียนประวัติ เพื่อให้มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านสามีหรือภริยา คนทั้งสองแบบที่ว่า ถือว่าเป็นบุคคลประเภท 6 เลขประจำตัวในบัตรจะขึ้นต้นด้วยเลข 6 เช่น 6 1012 23458 12

ประเภทที่ 7 คือ บุตรของบุคคลประเภทที่ 6 ซึ่งเกิดในประเทศไทย คนกลุ่มนี้ในทะเบียนประวัติจะมีเลขประจำตัวขึ้นต้นด้วยเลข 7 เช่น 7 1012 2345 133

ประเภทที่ 8 คือ คนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยถูกต้องตามกฎหมาย คือ ผู้ที่ได้รับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว หรือคนที่ได้รับการแปลงสัญชาติเป็นสัญชาติไทย และคนที่ได้รับการให้สัญชาติไทย ตั้งแต่หลังวันที่ 31 พฤษภาคม 2527 เป็นต้นไปจนปัจจุบัน คนกลุ่มนี้เลขในทะเบียนประวัติจะขึ้นด้วยเลข 8 เช่น 8 1018 01234 24 7

คนทั้ง 8 ประเภทนี้ จะมีเพียงประเภทที่ 3, 4 และ 5 เท่านั้น ที่จะมีบัตรประชาชนได้เลย ส่วนประเภทที่ 1 และ 2 จะมีบัตรประชาชนได้ ก็ต่อเมื่อมีอายุถึงเกณฑ์ทำบัตรประจำตัวประชาชน คืออายุ 15 ปี แต่สำหรับบุคคลประเภทที่ 6, 7 และ 8 จะมีเพียงทะเบียนประวัติเล่มสีเหลืองเท่านั้น จะไม่มีการออกบัตรประชาชนให้

ต่อไปคือ หลักที่ 2 ถึงหลักที่ 5 (เลข 1001 ในตัวอย่างหรือสี่ตัวถัดไปจากตัวแรก) จะหมายถึง รหัสของสำนักทะเบียน หรืออำเภอที่เรามีชื่ออยู่ในทะเบียนขณะที่ให้เลข ซึ่งก็หมายถึงถิ่นที่อยู่ของเรานั่นเอง กล่าวคือ เลขหลักที่ 2 และ 3 จะหมายถึงจังหวัดที่อยู่ ส่วนหลักที่ 4 และ 5 หมายถึงเขตหรืออำเภอในจังหวัดนั้นๆ เช่น ถ้าเขียนว่า 1001 ก็หมายถึงว่า คุณอาศัยอยู่ที่กรุงเทพฯ ในเขตดุสิต เพราะ 10 ในหลักที่ 2 และ 3 หมายถึงกรุงเทพมหานคร ส่วนเลข 01 ในหลักที่ 4 และ 5 คือรหัสของสำนักทะเบียนเขตดุสิต หรือถ้าเขียนว่า 1101 ก็จะหมายถึง อยู่ที่จังหวัดสมุทรปราการ อำเภอเมือง เพราะ 11 แรกคือ รหัสจังหวัดสมุทรปราการ และ 01 หลัง คือ อำเภอเมืองสมุทรปราการ เป็นต้น

สำหรับ หลักที่ 6 ถึงหลักที่ 10 (เลข 01245 ในตัวอย่าง) จะหมายถึง กลุ่มที่ของบุคคลแต่ละประเภท ตามหลักแรก (หลักที่ 1) ซึ่งทางสำนักทะเบียนในแต่ละแห่ง ก็จะจัดกลุ่มเรียงไปตามลำดับ หรือหากเป็นเด็กเกิดใหม่ในปัจจุบัน เลขดังกล่าวก็จะหมายถึง เล่มที่ของสูติบัตร (ใบแจ้งเกิดที่อำเภอหรือเขตออกให้) ซึ่งก็คือเลขประจำตัวในทะเบียนบ้านของเด็กที่แต่ละอำเภอหรือเขตออกให้ และจะไปปรากฎในบัตรประชาชน เมื่อถึงอายุต้องทำบัตรนั่นเอง แต่ถ้ายังไม่ถึงเกณฑ์เลขนี้ ก็จะปรากฏอยู่แค่ในทะเบียนบ้านของเด็กเท่านั้น
 
หลักที่ 11 และ 12 (หมายเลข 29 ในตัวอย่างสมมุติ) จะหมายถึง ลำดับที่ของบุคคลในแต่ละกลุ่มประเภท เป็นการจัดลำดับว่าเราเป็นคนที่เท่าไรในกลุ่มของบุคคลประเภทนั้นๆ

หลักที่ 13 (เลข 9 ตัวสุดท้ายในตัวอย่าง) จะหมายถึง ตัวเลขสำหรับตรวจสอบความถูกต้องของเลขทั้ง 12 หลักแรกอีกที

สำหรับเลขตั้งแต่หลักที่ 6 ถึง 13 นี้เป็นการจัดหมวดหมู่ และเรียงลำดับบุคคลในแต่ละประเภทของสำนักทะเบียนในแต่ละท้องที่ ซึ่งเราก็คงไม่ต้องรู้รายละเอียดอะไรลึกไปกว่านี้ เพราะรู้แล้วอาจจะงงเปล่าๆ

เป็นเรื่องน่าแปลกว่า ตัวเลข 13 หลักที่เป็นหมายเลขในบัตรประชาชน หรือเลขประจำตัวประชาชนของเราแต่ละคนนี้ จะไม่มีการซ้ำกันเลย ผิดกับชื่อหรือนามสกุล ยังมีซ้ำกันได้ และจะเป็นเลขประจำตัวเราจนตาย ไม่มีการเปลี่ยน หรือยกให้คนอื่น และจากการสอบถามเจ้าหน้าที่ว่า ในอนาคตจะต้องมีการเติมเลข อย่างเลข 8 เข้าไปอีก เพราะเลขไม่พอใช้เหมือนโทรศัพท์มือถือหรือไม่ เขาก็บอกว่าคงอีกนาน อาจจะถึง 100 ปีโน่น เพราะการที่เขาแยกแยะบุคคลเป็นประเภทต่างๆ และยังแยกย่อยเป็นจังหวัดอำเภอ แล้วลงรายละเอียดไปเป็นกลุ่มๆในแต่ละประเภทอีกนั้น ทำให้เพดานหรือช่วงตัวเลขมีความห่างมาก จนสามารถรองรับจำนวนคนได้อีกมาก และหากใครสงสัย หรือมีปัญหาในเรื่องทะเบียนบ้าน ทะเบียนสมรส บัตรประชาชน ก็สามารถสอบถามไปได้ที่ สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง โทร. 1548

ตัวเลข 13 หลักที่กล่าวข้างต้น  เป็นเลขประจำตัวประชาชนของแต่ละคนนี้ แม้จะมิใช่ตัวเลขที่เราต้องใช้เป็นประจำในชีวิตประจำวัน ยกเว้นใช้ในการกรอกเอกสารบางอย่าง เช่น การเปิดบัญชีธนาคาร ฯลฯ แต่เลขนี้ก็มีความสำคัญยิ่ง เพราะเป็นการสำแดงตัวตน “ความเป็นคนไทยหรือคนในประเทศไทย” ที่ทำให้เราสามารถอาศัยอยู่ในประเทศไทย และใช้สิทธิอย่างถูกต้องตามกฎหมายได้
 
ที่มา คุณอมรรัตน์ เทพกำปนาท สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม

Friday, February 4, 2011

Chinese Astrology Calendar

                                                
                                                
                                                
                               

Thursday, January 20, 2011

Kaizen mean

Definition and Concept

“KAI”= Change
“ZEN”= Good
Therefore, “KAIZEN”= Good Change
Or

KAIZEN means “continuous improvement” or "continual improvement"
involving
EVERYBODY
in the organization from the managers down to the workers (or every level of employee)
Kaizen Further Defined


  • Kaizen is an improvement suggestion to remove or rectify an abnormality in process, product and inputs.
  • Kaizen in broader terms means continuing improvement in personal life, home life, social life and working life. When applied to the workplace, kaizen means continuing improvement involving everyone- managers and workers (employees) alike.
  • Yet this emphasis on kaizen does not mean that innovation can or should be forgotten.
  • Both , innovation and kaizen are needed if the company is to survive and grow.
  • Kaizen usually results in small improvements on day-to-day basis. Yet, because it is done continuously, ultimately gives large compounded improvements.
History


  • Kaizen is a part of the quality revolution initiatives that started in Japan is 1950s.
  • The famous Toyota production system is known for kaizen.
Kaizen Versus Innovation
There are two contrasting approaches to improving quality and productivity.
  • The gradual approach- kaizen
  • The great leap approach- innovation
  • Innovation is dramatic, a real attention-getter.
  • Kaizen, on the other hand, is often undramatic and subtle, and its results are seldom immediately visible.
  • Kaizen is a continuous process.
  • Innovation is generally a one-shot phenomenon.
In any organization, we need both- kaizen and innovation. Yet, kaizen is imperative.
Innovations/Breakthroughs and Daily Continuous Improvements Through Kaizen
  • Innovations/breakthroughs are brought about in any organization occasionally or intermittently. There is a high jump in improvements. These high jump improvements are incorporated in the new practices/systems/processes.
  • Then, after one innovation/breakthrough, there may be a lull. During this lull period and in absence of daily management or continuous improvements through kaizen or gemba kaizen etc, these dramatically improved processes start degrading or deteriorating. And the processes become inefficient/ineffective. Lots of advantages of innovation disappear or are lost.
  • This is where daily management through continuous improvements comes in. It insists on daily performance and also, daily improvements. It keeps on maintaining and further improving the processes. The fall or degradation of processes is now just not possible.
  • Therefore, daily management and daily improvements through kaizen, gemba kaizen, quality circles etc is in fact a management imperative. You cannot do without it (you may occasionally do without an innovation/breakthrough).
  • It may not be as stunning or exciting as an innovation, yet, effective daily management and daily improvements are the foundation on which maximization of advantages due to innovation and company viability firmly stay.
Kaizen System in Practice (The Format)
Kaizen or improvement suggestions can be given by an individual, by a small or large group or can be institutionalized as a Kaizen suggestion system.
  • It is continuous improvement in all aspects of life.
  • It has total employee involvement (TEI) at its base.
  • Suggestions are given to supervisor/manager and not dropped in a suggestion box (as in conventional suggestion scheme).
  • Kaizen emphasizes on implementation.
  • Every employee takes part and gives suggestions.
  • Kaizen suggestions are evaluated quickly.
  • Suggestions can be departmental as well as inter-departmental.
  • Kaizen improves the dignity of the employees.
Kaizen Tools
  1. Seven QC tools (old ones- conventional and more popular)
  2. Seven QC tools (new ones)
  3. 5 W & 1 H :
    What is wrong?
    Where is the problem?
    Who does the job?
    When does it happen?
    Why does it happen?
    How can it be improved?
  4. Scare :
    Simplify
    Combine
    Add
    Re-arrange
    Eliminate
  5. Value added/non-value added analysis :
    Draw a flow process chart
    Identify whether each activity adds value
    Analyse causes of non-value added activities
    Eliminate non-value added activities
    Evolve a new method of working
  6. PDCA Cycle :
    Plan- Do- Check- Act
  7. Why why or 5 Why Analysis: Ask ‘Why’ 5 times unless you get a problem area at the root level and it's solution(s)

5S Housekeeping

5S Housekeeping Is Fundamental

(For 5S Housekeeping at homes, refer: (Housekeeping at Home)

  • 5S Housekeeping is fundamental for enhancing the value for the customer
  • 5S Housekeeping is the foundation for all the organizational systems/processes
    which, in turn, enhance value to customers
5S Housekeeping: A Glance
  • Since early 80’s in Japan
  • Pioneer- Toyota, Japan
  • Systematic approach to good housekeeping
  • People oriented approach: every individual can contribute to improve his workplace
  • Practice oriented approach: cleaner, better, effective and safer workplace
  • 5S stands for the five good housekeeping principles
Vision
  • To keep both one’s external and internal house in order, develop a sensitivity for one’s surroundings and a concern for the environment at large
  • A systematic and rational approach to workplace organization and methodical housekeeping with a sense of purpose
Advantages
  • Workplace becomes cleaner and better organized.
  • Shop floor and office operations become easier and safer.
  • Results are visible to everyone- insiders and outsiders. Problems detected fast.
  • Visibility gives rise to further improvements. Increased number of suggestions.
  • People are disciplined.
  • It instills pride among people.
  • Happier employees with high morale and greater employee involvement.
  • Better use of floor space.
  • Less work in progress and inventories. Less time in material handling.
  • Retrieval time minimized. Better flow of work. More time for improvement activities.
  • Low machine breakdown rate. Low down time. Better preventive maintenance.
  • Low accident rate.
  • High yield of materials.
  • High and consistent product quality. Low overall cost.
  • Company image enhances and generates more business.
Steps to Implement the 5 Elements of 5S
Seiri
•Classification- sort out
•Elimination- remove unnecessary items as appropriate
•Storage- frequent use/rare use items
- close location/distant location
- identification of items
•Fix responsibilities and share responsibilities
•Monitor progress

Rough Criteria for Seiri
•Not used for a year- Check and throw
•Used only once in last 6 to 12 months- Store at a distance
•Used only once in last 1 to 6 months- Store at a central place in the work area
•Used weekly/hourly/daily- Store near work site
Seiri: Obstacles
Seiri is not as easy to practice as it seems
•It is wasteful to throw things away
•We might possibly use them later
•It was so much trouble for me to make these things
•I know it is not used but it is in good condition, let it be there
•I want every thing here. I may use these any time, I can’t tell when. So don’t remove any thing
•If you think it is “such a waste to throw it away”, we can’t get started

Seiton

Ensure rational layout of machines, equipment, cabinets
•Place frequently used items at the point of use
•Prefix a place for every thing and put every thing in place
•Use labels, color codes to identify
•Use index for files, records and drawings
•Plan storage with easy irretrievability
•Mixed up items in cabinets should be organized
•Make cabinets, shelves, racks self explanatory through identification aids
•Have visual controls for checking missing items
Seiso
•Develop standards of cleaning
•Clean up work place, machines and tools after use
•Clean up supply line (no leakage, blockage, clogging with oil/dirt
•Assign responsibilities and schedules for cleaning
•Clean waste bins at end of shift/day
•Clean light bulbs, fans, shades, reflectors
•Pay special attention to scrap yard, gardens, godowns
•Scrap and chips from machines could fall directly in to collecting bins

Seiketsu
•Identify 5 S areas
•Develop standards/evaluation criteria with workmen (SOP’s and housekeeping standards)
•Establish checking procedure 5W + 1H
•Establish feedback procedure 5W + 1H
•Wear neat and clean uniform
•Wear protective clothing
•Provide adequate lighting, ventilation, exhaust
•Check electrical wiring, cables, switches
•Maintain sanitary/hygienic conditions in wash rooms, locker rooms, canteen and kitchen
•Earmark smoking and eating areas
•Look for heavy noise, vibrations and heat in machines, analyze for root cause and take action
•Create visual control systems
•Devise ways to expose hidden problems
•Create standards

Shitsuke
•Create awareness of first 4 S’s
•Develop action details for maintaining standards
•Make them easily understandable
•Give specific directions
•Display correct work procedure on the floor
•Correct deviations on the spot
•Maintain punctuality
•Conduct audits
•Demonstrate sincerity in following rules
•Share success to enthuse others

Consequences of Not Practicing 5S
Seiri
•The unwanted clutters up the place and the wanted is hard to find
•More time spent for searching things
•More space required
•We can’t bring in new things in the same place
•Causes mis-identification and rejected parts are moved to work station
Seiton
•Things are seldom available when needed. More time spent for locating misplaced things
•Defective and good items/similar looking items get mixed up
•Items are lost
•Prone to accidents
•Loss of production
•Excess inventory
•Pressure for more space

Seiso
•Dust and dirt will affect the machine performance
•Cleaning reveals hidden problems which may get overlooked otherwise
•Dust and dirt affect performance and aesthetic quality
•Unpleasant work place

Five Levels of 5 S Housekeeping
•Housekeeping of one’s inner self
•Following the 5 S principles and reducing waste
•Extending the 5 S concept to include ergonomics
•Extending the 5 S concept to include aesthetics
•Maintaining records and educating others

Stages of 5S Housekeeping
Stage 1: Floor is full of unwanted material
Stage 2: Clutter found by the walls
Stage 3: Factory/office is clean but tools, papers, files and materials dis-organized
Stage 4: Storage area/offices are clean and furniture, documents, material organized
Stage 5: Factory/office is immaculate
Critical Factors/Steps in Implementing 5S
  • Top /Senior Management commitment
  • Leadership by location heads
  • Awareness training programs for all employees
  • Launching of 5S program
  • Allocation of funds
  • Identification on 5S areas
  • Team formation involving employees
  • Developing standards
  • Developing checklists
  • Guidance, training, sorting out problems
  • Developing audit check lists
  • Publishing audit results
  • Reviewing audit findings, follow up corrective actions
  • Holding competitions- awards
Implementation Methodology
  • All employees to undergo 5 S Housekeeping training
  • A vision statement to be evolved and started with all employees
  • Divide the organization into convenient zones
  • Divide each zone in to convenient sub-zones
  • Decide on date(s) for launching 5 S in each zone, sub-zone
  • Take pledge (refer the section titled "5S Pledge" for couple of formats of the pledge as examples. they can be customized to your requirements)
  • Apply 5 S principles step by step
  • Form audit teams
  • Carry out audits
5S Pledge
Examples of Pledge Formats:
Example 1: It shall be my (our) constant effort to maintain my workplace in an excellent order by sorting out unwanted material periodically and discarding them, assigning a place for everything and keeping everything in its place and keeping my workplace neat and clean all the time everyday.
Example 2: It shall be my (our) endeavour to delight our customers (or internal and external customers) by adhering to the standards of putting things in order and maintaining cleanliness at our workplace.
Criteria for Good Housekeeping Award
  • Space occupied
  • Ease of retrieval
  • Ingenious storing methods
  • Waste elimination
  • Aesthetics
5 S Audit
  • Form an audit team for each zone consisting of 4-5 members. The members should belong to that zone. One member may belong to another zone so as to maintain impartiality.
  • Auditing should be carried out once a month or once in two months based on a carefully prepared check list.
An Example of Auditor’s Check List
•Documents maintained as per retention plan : 10 points
•Other items at assigned places : 10 points
•Innovative methods of storage/visual display system: 5 points
•Cleanliness/hygiene : 5 points
•Space released : 5 points
•Reporting of waste reduction : 5 points
•Aesthetic aspect : 10 points
•Safety aspect : 15 points
Auditee’s personal appearance : 5 points
•Layout : 5 points
•Lighting level : 5 points
•Noise level : 5 points
•Temperature/humidity : 5 points
•General ergonomics : 10 points

Change Management ....

Only Thing That is Constant is “Change”

Changes take place in:

  • Economy
  • Markets
  • Customers
  • Competition
  • Technology
  • Product life cycle
  • Product design, diversity and complexity
  • Capital intensiveness
  • Supply chain
  • Channels of distribution
  • Quality requirements
etc.
Managing Change: Definitions

  • Proactive and anticipative change management: This refers to the making of changes in a planned or systematic fashion. It involves effectively implementing new initiatives, systems and methods in an ongoing organization. The changes to be managed lie within and are controlled by the organization.
  • Reactive change management: The internal changes in the organization are triggered by events originating outside the organization, by the environment. It is response to the changes over which the organization has little or no control (e.g. legislation, social and political upheaval, competitors' actions, shifting economic tides and currents and so on).
  • In both, proactive and reactive change management, organizations use the models, methods and techniques, tools, skills, and other forms of knowledge.
What, Why and How of Change Management
Change management or managing change has to have answers to three basic questions:
  • What change(s) are needed,
  • Why do we need that/those change(s) and
  • How to implement the change(s).
Stages of Change Management
Management of conceptualizing, planning and implementation of change(s) has three basic stages:
  1. Unfreezing
  2. Changing
  3. Refreezing
The elements involved in these three stages are: plans, strategies, structures, systems, methods, people and mindsets, techniques and tools etc.
Competencies/Skills Required for Managing Changes
  • Business skills
  • Commercial skills
  • Political skills
  • People skills
  • System skills
  • Analytical skills
  • Project management skills
Change Process
  • Create or establish need of change
  • The need of change must exceed its resistance
  • Shape a vision
  • Mobilize commitment
  • Make change that lasts
  • Monitor Progress
  • Review, control and correct

Sunday, January 2, 2011

Links for Investor Relations

  • Market for Alternative Investment (MAI) / The Stock Exchange of Thailand  http://www.set.or.th